logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทความ
  • ชีววิทยา
  • ผึ้งอัจฉริยะ นักจดจำจากธรรมชาติ

ผึ้งอัจฉริยะ นักจดจำจากธรรมชาติ

โดย :
วชิรญาณ์ ศรีวัฒนะ
เมื่อ :
วันศุกร์, 31 กรกฎาคม 2563
Hits
3821

          กลไกการทำงานในธรรมชาติที่มีระบบผู้นำ และผู้ตาม ในสัตว์ที่เรียกว่าแมลงนั้น ซึ่งเราจะเห็นได้จากแมลงที่เรียกว่า ผึ้ง ผึ้งจะมีโครงสร้างตำแหน่งแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ตำแหน่ง ในตำแหน่งผู้นำนั้นคือนางพญา เป็นผู้ที่ออกผสมพันธุ์ และคอยควบคุมดูแลสมาชิกทุกตัวในรัง ในหนึ่งรังนั้นมักจะมีผู้นำเพียงตัวเดียว ตำแหน่งถัดมาจะเป็นตำแหน่งที่มีหลากหลายหน้าที่จะเรียกว่าเป็นตัวงานเลยก็ว่าได้ ตัวงานนี้เองคือผู้ออกหาอาหารเก็บน้ำหวานกลับมายังรัง ในน้ำผึ้งที่เรารับประทานก็มาจากตัวงานนี่แหละ ส่วนงานอื่น ๆ สำหรับตัวงานก็มีการทำความสะอาด ซ่อมแซม ไปจนถึงการป้อนอาหารตัวในรัง และในตำแหน่งสุดท้ายที่ขาดไม่ได้ก็คือตัวผู้ หน้าที่หลักก็จะเป็นการผสมพันธุ์กับนางพญา ตัวนี้เมื่อผสมพันธ์ุเสร็จแล้วก็จะตาย และตัวที่ยังไม่ได้ผสมพันธุ์ก็จะถูกให้ขาดอาหารแล้วตายเช่นกัน นี่ก็เป็นความพิเศษสังคมแมลงชนิดนี้ ที่การใช้ชีวิตราวกับว่าเป็นหุ่นยนต์ฝังโปรแกรมมาเลยทีเดียว

11351 1

ภาพผึ้ง
ที่มา https://pixabay.com , skeeze

ความพิเศษที่ถูกค้นพบ

          ผึ้งเป็นแมลงอีกชนิดที่ถูกนำมาทดลองในห้องวิจัยบ่อยครั้ง เพื่อหาคำตอบใหม่ๆ ทางด้านพฤติกรรม สังคม และสติปัญญา ซึ่งการทดลองก็มีความแตกต่างกันไปตามเป้าหมายในการทดลองนั้น เมื่อค้นพบความสามารถในผึ้งแล้วกลับทำให้เราประหลอดใจกับความอัจฉริยะอันน่าทึ่งของผึ้งนี้ ซึ่งได้แก่

  1. ผึ้งมีการจดจำเส้นทางที่แม่นยำ และสงสารไปยังฝูงด้วยภาษาของตนเองอย่างถูกต้อง จากการสังเกตุที่พบว่าจะมีตัวผึ้งงานที่เป็นตัวสำรวจแหล่งอาหารนั้น ได้เก็บน้ำหวานแล้วบินกลับมายังฝูงของตนเอง เพื่อมาบอกเพื่อนในรังไปเก็บน้ำหวานในที่ที่ตนมา จึงมีการใช้วิธีบอกทางด้วยการบินวนไปมา และส่ายตัวไปมา จากนั้นเองฝูงผึ้งก็บินไปยังทิศทางนั้น โดยการสังเกต จดจำ และรับสาร สู่การเดินทางไปยังจุดรับน้ำหวานได้อย่างถูกต้อง

11351 2

ภาพผึ้งตอมดอกไม้
ที่มา https://pixabay.com , Pexels

  1. ความจำอย่างไม่น่าเชื่อของตัวเลข แม้ว่าจะมีข้อมูลระบุชัดเจนถึงโครงสร้างทางกายภาพของผึ้งว่ามีสมองเท่ากับเมล็ดผักกาดเท่านั้น แต่ในการทดลองที่หาผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบระหว่างสิ่งของที่มีจำนวนมากกว่า และจำนวนน้อยกว่านั้น มีการฝึกให้ผึ้งบินไปเลือกที่สิ่งของที่น้อยกว่าแล้วจะได้รับรางวัลคือของหวาน ถ้าเลือกผิดผึ้งก็จะได้รับการทำโทษโดยการได้อาหารรสขมไปแทน ซึ่งการทดลองไม่ได้ถูกค้นพบเพียงการเลือกจำนวนเพียงอย่างเดียว แต่สมองผึ้งนั้นก็ได้ฝึกเชื่อมโยงระหว่างเลข 0 และความว่างเปล่าด้วย จนทำให้ผึ้งนั้นเข้าใจเลือกเมื่อไม่มีสิ่งของเลย กับตัวเลขศูนย์แล้วผึ้งก็เลือกถูกบ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเปลี่ยนสถานการณ์หรือลักษณะสิ่งของไปกี่ครั้งผึ้งก็ยังตอบถูกมากกว่า 80 % อยู่ดี ผลการทดลองครั้งนี้ได้ปรากฏอยู่ในการทดลองของมหาวิทยาลัยRMIT ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งมีผู้นำด้านวิจัยคือ สคาร์เล็ท ฮาร์เวิด นั่นเอง

11351 3

ภาพผึ้งและรังผึ้ง
ที่มา https://pixabay.com , PollyDot

  1. ผึ้งมีทักษะเรียนรู้และเลียนแบบได้ ได้มีผึ้งกลุ่มหนึ่งจากการทดลองของลาโกล่าที่เป็นนักนิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรม จากมหาวิทยาลัยควินเมรี่ลอนดอน แสดงให้เห็นว่าผึ้งสามารถเล่นฟุตบอลได้จากการเรียนรู้จากผึ้งอีกกลุ่มหนึ่งที่ได้ทำการทดลองเหมือนกัน แต่ผึ้งในกลุ่มแรกได้ถูกฝึกฝนมาเป็นอย่างดีแล้ว ซึ่งก็ใช้เวลาพอสมควรกว่าจะเรียนรู้จนปฏิบัติได้ โดยพฤติกรรมที่เขาสอนจะให้ผึ้งนั้นเรียนรู้การเลี้ยงบอลให้ลงหลุมแล้วจะได้รับรางวัลด้วยน้ำตาล และอีกกลุ่มเขาให้เรียนรู้ด้วยตัวผึ้งเองจากการสังเกตพฤติกรรมตัวอย่างการเล่นฟุตบอลของผึ้งกลุ่มแรก ผลปรากฏว่าผึ้งกลุ่มนี้ก็สามารถลงมือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เมื่อลงสนามจริงพวกเขาก็ได้ผลักลูกฟุตบอลนั้นลงหลุม ซึ่งระยะเวลาที่ใช้นั้นไม่นานเลย

 

แหล่งที่มา

(2560,สิงหาคม 8). พบผึ้งฉลาดกว่าที่คิด เข้าใจความหมายของเลขศูนย์. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2562 จาก  https://www.bbc.com/thai/international-40847197

Thanet Ratanakul (2561, กรกฎาคม 19). ปัจเจกทางอารมณ์ในมวลหมู่ผึ้ง : ทำไมแมลงถึงทำให้เราเข้าใจระบบประสาทและสมอง สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://thematter.co/science-tech/in-the-mood-of-bees/54977

(2560, มีนาคม 6). เรื่องทึ่งๆ ของผึ้งกลิ้งลูกบอลได้เมื่อใช้น้ำหวานล่อ. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://www.thairath.co.th/content/875005

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ผึ้ง, การจดจำของผึ้ง, การทดลองเกี่ยวกับผึ้ง, ความอัจฉริยะของผึ้ง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันเสาร์, 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
วชิรญาณ์ ศรีวัฒนะ
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
วิทยาศาสตร์ทั่วไป
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 11351 ผึ้งอัจฉริยะ นักจดจำจากธรรมชาติ /article-biology/item/11351-2020-03-12-02-03-12
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
How to: วิธีทำให้เหรียญกลับมาเหมือนใหม่ shine bright อีกครั้ ...
How to: วิธีทำให้เหรียญกลับมาเหมือนใหม่ ...
Hits ฮิต (50529)
ให้คะแนน
มาทำความรู้จักกับเหรียญกันก่อน เหรียญ เป็นวัตถุของแข็งมีลักษณะเป็นแผ่นกลม ผลิตมาจากโลหะหรือพลาสติกเ ...
อีโคพลาสติก (Eco-plastics) ดีต่อโลกอย่างไร?
อีโคพลาสติก (Eco-plastics) ดีต่อโลกอย่าง...
Hits ฮิต (9842)
ให้คะแนน
เทรนฮิตในโลกปัจจุบันคือการตระหนักรู้ตระหนักคิดด้านสิ่งแวดล้อม จะเห็นได้ว่าหลายประเทศเริ่มนำพลาสติกย ...
น้ำทะเล...เค็ม...แค่ไหน??
น้ำทะเล...เค็ม...แค่ไหน??
Hits ฮิต (40117)
ให้คะแนน
น้ำทะเล...เค็ม...แค่ไหน?? ทำไมน้ำทะเลถึงเค็ม ? นักวิทยาศาสตร์คาดว่าน้ำในมหาสมุทรมีแร่ธาตุมากมายละลา ...

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)